Wednesday, December 6, 2017

วอลเลย์บอลหญิงทีมชาติเกาหลีใต้




วอลเลย์บอลหญิงทีมชาติเกาหลีใต้
Flag
สมาคมสมาคมวอลเลย์บอลเกาหลี
สมาพันธ์สมาพันธ์วอลเลย์บอลเอเชีย
ผู้จัดการทีมเกาหลีใต้ คิม ฮยุง-ซิล[1]
หัวหน้าผู้ฝึกสอนเกาหลีใต้ ฮง ซ็อง-จิน
อันดับเอฟไอวีบี144 (ณ เดือนสิงหาคม ค.ศ. 2016)
กีฬาโอลิมปิก
เข้าแข่งขัน9 สมัย (ครั้งแรกใน 1964)
ผลการแข่งที่ดีที่สุดBronze medal.svg เหรียญทองแดง (1976)
ชิงแชมป์โลก
เข้าแข่งขัน10 สมัย (ครั้งแรกใน 1967)
ผลการแข่งที่ดีที่สุดBronze medal with cup.svg อันดับ 3 (19671974)
เวิลด์คัพ
เข้าแข่งขัน11 สมัย (ครั้งแรกใน 1973)
ผลการแข่งที่ดีที่สุดBronze medal with cup.svg อันดับ 3 (19731977)
เว็บไซต์www.kva.or.kr (เกาหลี)
เครื่องแบบ
เหย้า
เยือน
เหรียญรางวัล
กีฬาโอลิมปิก
ทองแดงมอนทรีออล 1976ทีม
วอลเลย์บอลชิงแชมป์โลก
ทองแดงโตเกียว 1967ทีม
ทองแดงกวาดาลาฮารา 1974ทีม
เวิลด์คัพ
ทองแดงอุรุกวัย 1973ทีม
ทองแดงญี่ปุ่น 1977ทีม
วอลเลย์บอลเวิลด์กรังด์ปรีซ์
ทองแดงโกเบ 1997ทีม
เอเชียนเกมส์
ทองฮิโระชิมะ 1994ทีม
เงินเตหะราน 1974ทีม
เงินโซล 1986ทีม
เงินปักกิ่ง 1990ทีม
เงินกรุงเทพมหานคร 1998ทีม
เงินปูซาน 2002ทีม
เงินกว่างโจว 2010ทีม
ทองแดงกรุงเทพมหานคร 1978ทีม
ทองแดงนิวเดลี 1982ทีม
วอลเลย์บอลชิงแชมป์เอเชีย
เงินเมลเบิร์น 1975ทีม
เงินฮ่องกง 1989ทีม
เงินเชียงใหม่ 1995ทีม
เงินมะนิลา 1997ทีม
เงินฮ่องกง 1999ทีม
เงินนครราชสีมา 2001ทีม
ทองแดงฮ่องกง 1979ทีม
ทองแดงฟุกุโอะกะ 1983ทีม
ทองแดงเซี่ยงไฮ้ 1987ทีม
ทองแดงกรุงเทพมหานคร 1991ทีม
ทองแดงเซี่ยงไฮ้ 1993ทีม
ทองแดงนครโฮจิมินห์ 2003ทีม
ทองแดงไทเป 2011ทีม
ทองแดงนครราชสีมา 2013ทีม
วอลเลย์บอลชิงแชมป์เอเชียนคัพ
เงินนครราชสีมา 2008ทีม
ทองแดงไท่ฉาง 2010ทีม


วอลเลย์บอลหญิงทีมชาติเกาหลีใต้ (เกาหลี대한민국 여자 배구 국가대표팀) เป็นตัวแทนของประเทศเกาหลีใต้ในการแข่งขันวอลเลย์บอลระดับนานาชาติรวมถึงนัดกระชับมิตร ทีมนี้เป็นหนึ่งในทีมระดับแถวหน้าของโลกในช่วงยุคทศวรรษที่ 1970, 1990 

และยังคงเป็นหนึ่งในทีมวอลเลย์บอลหญิงที่ดีที่สุดของเอเชีย รวมถึงเคยได้รับรางวัลเหรียญทองแดงจากการแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อน 1976 ที่มอนทรีออล ประเทศแคนาดา, อันดับสี่จากการแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อน 1972 ที่มิวนิก ประเทศเยอรมนี และโอลิมปิกฤดูร้อน 2012 ที่กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ
และในการแข่งขันวอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์เอเชีย 2013 ทีมชาติเกาหลีใต้ได้เข้าชิงอันดับ 3 กับทีมชาติจีน[3]

    รายชื่อผู้เล่นชุดปัจจุบัน

    • หัวหน้าผู้ฝึกสอน: เกาหลีใต้ อี จ็อง-ช็อล
    • อ้างอิงรายชื่อนักกีฬาชุดปัจจุบันจาก : วอลเลย์บอลหญิงในโอลิมปิกรอบคัดเลือก
    เบอร์ชื่อวันเกิดส่วนสูงตบบล็อกสโมสร 2015ตำแหน่ง
    1อี โซ-ย็อง17 ตุลาคม ค.ศ. 19941.76280265เกาหลีใต้ จีเอสคาลเท็กซ์ตัวตีด้านนอก
    2คิม เซ-ย็อง4 มิถุนายน ค.ศ. 19811.90309300เกาหลีใต้ ฮุนไดอีแอนด์ซีตัวบล็อกกลาง
    3อี ฮโย-ฮี9 กันยายน ค.ศ. 19801.73280271เกาหลีใต้ โคเรียเอ็กซ์เพรสเวย์คอร์ปอเรชันมือเซต
    4คิม ฮี-จิน29 เมษายน ค.ศ. 19911.85300295เกาหลีใต้ ไอบีเคอัลทอซตัวบุกแดนหลัง
    5คิม แฮ-รัน16 มีนาคม ค.ศ. 19841.68300295เกาหลีใต้ โคเรียจินเซ็งคอร์ปอเรชันตัวรับอิสระ
    6ฮวัง ย็อน-จู13 สิงหาคม ค.ศ. 19861.77280270เกาหลีใต้ ฮุนไดอีแอนด์ซีตัวบุกแดนหลัง
    7อี แจ-ย็อง15 ตุลาคม ค.ศ. 19961.79282263เกาหลีใต้ ฮึงกุกไลฟ์ตัวตีด้านนอก
    8นัม จี-ย็อน25 พฤษภาคม ค.ศ. 19831.72285273เกาหลีใต้ ไอบีเคอัลทอซตัวรับอิสระ
    9พโย ซึง-จู7 สิงหาคม ค.ศ. 19921.81290270เกาหลีใต้ จีเอสคาลเท็กซ์ตัวตีด้านนอก
    10คิม ย็อน-คย็อง26 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 19881.92307299ตุรกี เฟแนร์บาห์เชตัวตีด้านนอก
    11คิม ซู-จี11 กรกฎาคม 19871.86303294เกาหลีใต้ ฮึงกุกไลฟ์ตัวบล็อกกลาง
    12แพ ยุน-อา30 พฤศจิกายน ค.ศ. 19891.80303294เกาหลีใต้ จีเอสคาลเท็กซ์ตัวบล็อกกลาง
    13พัก จ็อง-อา26 มีนาคม ค.ศ. 19931.85300290เกาหลีใต้ ไอบีเคอัลทอซตัวตีด้านนอก
    14ยัง ฮโย-จิน14 ธันวาคม ค.ศ. 19891.90287280เกาหลีใต้ ฮุนไดอีแอนด์ซีตัวบล็อกกลาง
    15คัง โซ-ฮี18 กรกฎาคม ค.ศ. 19971.80245230เกาหลีใต้ จีเอสคาลเท็กซ์ตัวตีด้านนอก
    16มุน มย็อง-ฮวา4 กันยายน ค.ศ. 19951.90280287เกาหลีใต้ โคเรียจินเซ็งคอร์ปอเรชันตัวบล็อกกลาง
    17ย็อม ฮเย-ซ็อน3 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 19911.75280262เกาหลีใต้ ฮุนไดอีแอนด์ซีมือเซต
    18อี ดา-ย็อง15 ตุลาคม ค.ศ. 19961.77302291เกาหลีใต้ ฮุนไดอีแอนด์ซีมือเซต
    19โช ซง-ฮวา12 มีนาคม ค.ศ. 19931.76280260เกาหลีใต้ ฮึงกุกไลฟ์มือเซต
    20นา ฮย็อน-จุง10 มีนาคม ค.ศ. 19901.63257250เกาหลีใต้ จีเอสคาลเท็กซ์ตัวรับอิสระ

    รางวัล

    โอลิมปิกฤดูร้อน

    • ญี่ปุ่น 1964 – อันดับที่ 6
    • เม็กซิโก 1968 – อันดับที่ 5
    • เยอรมนี 1972 – อันดับที่ 4
    • แคนาดา 1976 – Med 3.png เหรียญทองแดง
    • สหภาพโซเวียต 1980 – ไม่ผ่านการคัดเลือก
    • สหรัฐ 1984 – อันดับที่ 5
    • เกาหลีใต้ 1988 – อันดับที่ 8
    • สเปน 1992 – ไม่ผ่านการคัดเลือก
    • สหรัฐ 1996 – อันดับที่ 6
    • ออสเตรเลีย 2000 – อันดับที่ 8
    • ประเทศกรีซ 2004 – อันดับที่ 5
    • ประเทศจีน 2008 – ไม่ผ่านการคัดเลือก
    • สหราชอาณาจักร 2012 – อันดับที่ 4
    • บราซิล 2016 – อันดับที่ 8
    • ญี่ปุ่น 2020 –

    วอลเลย์บอลชิงแชมป์โลก

    • สหภาพโซเวียต 1952 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
    • ฝรั่งเศส 1956 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
    • บราซิล 1960 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
    • บราซิล 1962 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
    • ญี่ปุ่น 1967 : Med 3.png เหรียญทองแดง
    • บัลแกเรีย 1970 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
    • เม็กซิโก 1974 : Med 3.png เหรียญทองแดง
    • สหภาพโซเวียต 1978 : อันดับที่ 4
    • เปรู 1982 : อันดับที่ 7
    • เชโกสโลวาเกีย 1986 : อันดับที่ 8
    • ประเทศจีน 1990 : อันดับที่ 5
    • บราซิล 1994 : อันดับที่ 4
    • ญี่ปุ่น 1998 : อันดับที่ 9
    • เยอรมนี 2002 : อันดับที่ 6
    • ญี่ปุ่น 2006 : อันดับที่ 13
    • ญี่ปุ่น 2010 : อันดับที่ 13
    • อิตาลี 2014 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
    • ญี่ปุ่น 2018 :

    เวิลด์คัพ

    • อุรุกวัย 1973 : Med 3.png เหรียญทองแดง
    • ญี่ปุ่น 1977 : Med 3.png เหรียญทองแดง
    • ญี่ปุ่น 1981 : ไม่ได้เข้าร่วมแข่งขัน
    • ญี่ปุ่น 1985 : ไม่ได้เข้าร่วมแข่งขัน
    • ญี่ปุ่น 1989 : อันดับที่ 7
    • ญี่ปุ่น 1991 : อันดับที่ 6
    • ญี่ปุ่น 1995 : อันดับที่ 5
    • ญี่ปุ่น 1999 : อันดับที่ 4
    • ญี่ปุ่น 2003 : อันดับที่ 9
    • ญี่ปุ่น 2007 : อันดับที่ 8
    • ญี่ปุ่น 2011 : อันดับที่ 9
    • ญี่ปุ่น 2015 : อันดับที่ 6

    วอลเลย์บอลเวิลด์แกรนด์แชมป์เปี้ยนคัพ

    • ญี่ปุ่น 1993 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
    • ญี่ปุ่น 1997 : อันดับที่ 6
    • ญี่ปุ่น 2001 : อันดับที่ 6
    • ญี่ปุ่น 2005 : อันดับที่ 6
    • ญี่ปุ่น 2009 : อันดับที่ 5
    • ญี่ปุ่น 2013 : ไม่ผ่านการคัดเลือก

    วอลเลย์บอลเวิลด์กรังด์ปรีซ์

    • ฮ่องกง 1993 : อันดับที่ 5
    • ประเทศจีน 1994 : อันดับที่ 5
    • ประเทศจีน 1995 : อันดับที่ 5
    • ประเทศจีน 1996 : อันดับที่ 7
    • ญี่ปุ่น 1997 : Med 3.png เหรียญทองแดง
    • ฮ่องกง 1998 : อันดับที่ 6
    • ประเทศจีน 1999 : อันดับที่ 6
    • ฟิลิปปินส์ 2000 : อันดับที่ 6
    • มาเก๊า 2001 : อันดับที่ 7
    • ฮ่องกง 2002 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
    • อิตาลี 2003 : อันดับที่ 6
    • อิตาลี 2004 : อันดับที่ 11
    • ญี่ปุ่น 2005 : อันดับที่ 9
    • อิตาลี 2006 : อันดับที่ 9
    • ประเทศจีน 2007 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
    • ญี่ปุ่น 2008 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
    • ญี่ปุ่น 2009 : อันดับที่ 12
    • ประเทศจีน 2010 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
    • มาเก๊า 2011 : อันดับที่ 9
    • ประเทศจีน 2012 : อันดับที่ 14
    • ญี่ปุ่น 2013 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
    • ญี่ปุ่น 2014 : อันดับที่ 9
    • สหรัฐ 2015 : ถอนทีมออกจากการแข่งขัน
    • ไทย 2016 : ไม่ผ่านการคัดเลือก

    เอเชียนเกมส์

    • อินโดนีเซีย 1962 : Med 2.png เหรียญเงิน
    • ไทย 1966 : Med 2.png เหรียญเงิน
    • ไทย 1970 : Med 2.png เหรียญเงิน
    • อิหร่าน 1974 : Med 2.png เหรียญเงิน
    • ไทย 1978 : Med 3.png เหรียญทองแดง
    • อินเดีย 1982 : Med 3.png เหรียญทองแดง
    • เกาหลีใต้ 1986 : Med 3.png เหรียญทองแดง
    • ประเทศจีน 1990 : Med 2.png เหรียญเงิน
    • ญี่ปุ่น 1994 : Med 1.png เหรียญทอง
    • ไทย 1998 : Med 2.png เหรียญเงิน
    • เกาหลีใต้ 2002 : Med 2.png เหรียญเงิน
    • ประเทศกาตาร์ 2006 : อันดับที่ 5
    • ประเทศจีน 2010 : Med 2.png เหรียญเงิน
    • เกาหลีใต้ 2014 : Med 1.png เหรียญทอง
    • อินโดนีเซีย 2018 :

    วอลเลย์บอลชิงแชมป์เอเชีย

    • ออสเตรเลีย 1975 : Med 2.png เหรียญเงิน
    • ฮ่องกง 1979 : Med 3.png เหรียญทองแดง
    • ญี่ปุ่น 1983 : Med 3.png เหรียญทองแดง
    • ประเทศจีน 1987 : Med 3.png เหรียญทองแดง
    • ฮ่องกง 1989 : Med 2.png เหรียญเงิน
    • ไทย 1991 : Med 3.png เหรียญทองแดง
    • ประเทศจีน 1993 : Med 3.png เหรียญทองแดง
    • ไทย 1995 : Med 2.png เหรียญเงิน
    • ฟิลิปปินส์ 1997 : Med 2.png เหรียญเงิน
    • ฮ่องกง 1999 : Med 2.png เหรียญเงิน
    • ไทย 2001 : Med 2.png เหรียญเงิน
    • เวียดนาม 2003 : Med 3.png เหรียญทองแดง
    • ประเทศจีน 2005 : อันดับที่ 4
    • ไทย 2007 : อันดับที่ 4
    • เวียดนาม 2009 : อันดับที่ 4
    • จีนไทเป 2011 : Med 3.png เหรียญทองแดง
    • ไทย 2013 : Med 3.png เหรียญทองแดง
    • ประเทศจีน 2015 : Med 2.png เหรียญเงิน

    วอลเลย์บอลชิงแชมป์เอเชียนคัพ

    • ไทย 2008 : Med 2.png เหรียญเงิน
    • ประเทศจีน 2010 : Med 3.png เหรียญทองแดง
    • คาซัคสถาน 2012 : อันดับที่ 6
    • ประเทศจีน 2014 : Med 2.png เหรียญเงิน
    • เวียดนาม 2016 : อันดับที่ 8

    No comments:

    Post a Comment

    วอลเลย์บอลหญิงทีมชาติเกาหลีใต้

    วอลเลย์บอลหญิงทีมชาติเกาหลีใต้ สมาคม สมาคมวอลเลย์บอลเกาหลี สมาพันธ์ สมาพันธ์วอลเลย์บอลเอเชีย ผู้จัดการทีม   คิม ฮยุง-ซิล [...